มดลูกทะลัก
อาการ แพะ&โคจะเบ่งมากและเห็นมดลูกทะลักออกมา ความรุนแรงขึ้นกับขนาดของมดลูกที่ทะลัก และระยะเวลาที่ทิ้งไว้
ก่อนทำการแก้ไข ส่วนใหญ่เมื่อมดลูกทะลัก แพะ&โคมักจะนอนทำให้ส่วนของมดลูกตกอยู่บนพื้น ซึ่งสภาพนี้มดลูกจะสกปรกและชอกช้ำได้ง่าย
หากมีการฉีกขาดของเส้นเลือดด้วยจะทำให้เลือดออกมาก มีผลให้แพะ&โคตายได้ ถ้าทิ้งมดลูกให้ทะลักเป็นเวลานานจะทำให้เลือดคั่งที่มดลูกมีผลให้ผนังมดลูกบวมใหญ่ขึ้นดันกลับยาก และอาจเกิดเนื้อตายหรือบาดแผลที่มดลูกได้
ขอบคุณภาพจาก http://board.kobalnews.com/view.php?category=siamindu&wb_id=9838
สาเหตุ
สาเหตุที่แน่นอนยังไม่ทราบ บางครั้งอาจเกิดจากระดับแคลเซียมในเลือดต่ำ มักพบในแพะ&โคที่ยังไม่ครบแล้วเบ่งอย่างมากจนมดลูกปลิ้นทะลักออกมา
1. มักพบในแม่แพะ&โคอายุมากและให้ลูกมาหลายตัวแล้ว ทำให้กล้ามเนื้อบริเวณปากช่องคลอดหย่อนและไม่แข็งแรง
2. แม่แพะ&โคผอมและขาดการออกกำลังกายในระยะก่อนคลอด
3. เกิดจากขาดแร่ธาตุบางชนิด เช่น แคลเซียม
4. เกิดจากความผิดปกติของระบบทางเดินอาหาร ทำให้เกิดการปวดเบ่ง เช่นกระเพาะลำไส้อักเสบจากการติดพยาธิ โดยเฉพาะกลุ่มพยาธิตัวกลมในกระเพาะลำไส้ เช่นพยาธิตัวกลมขนาดเล็กสีแดง
5. รกค้าง ไม่ควรปล่อยทิ้งไว้นาน เพราะอาจจะทะลักมากขึ้น
และที่สำคัญอาจจะแห้งและเกิดการตายของเนื้อเยื่อ ทำให้เกิดการระคายเคืองภายในแล้วส่งผลให้แพะ&โคเบ่งดันมดลูกออกมาอีก นำวัวเข้าซองบังคับ หรือถ้าไม่ดื้อมาก ก็ผูกล่ามไว้ในบริเวณที่จัดการง่ายก็พอ
►ขอบคุณคลิปจากSomsakul Roungpakdee เฟซบุ๊ค เลี้ยงแพะยั่งยืน
.
ลดขนาดมดลูกที่บวมให้เล็กลง โดยใช้นํ้าตาลทรายทาบริเวณมดลูกจากนั้นใช้ยาชา ฉีดเข้าบริเวณไขสันหลังส่วนล่าง ประมาณ 5-8 ซีซี. ตามขนาดของแม่แพะ&โคจากนั้นใช้มือกำแน่นดันส่วนของมดลูกที่ไหลออกมาให้คืนกลับเข้าช่องท้อง
หลังจากยัดมดลูกกลับไปได้แล้วก็ทำการเย็บ.. โดยใช้สายน้ำเกลือ ที่ล้างด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อแล้ว เมื่อเย็บปิดเสร็จแล้วก็ทำการฉีดยาลดปวดพร้อมทั้งยาปฎิชีวนะแก่วัว
การป้องกัน
1. เสริมแร่ธาตุก้อน แคลเซียม หรือชนิดผงให้แม่แพะ&โคได้เลียกินเป็นประจำ
2. ให้ยาถ่ายพยาธิภายในแก่แม่แพะ&โคเป็นประจำ
3. ถ้าในกรณีที่แม่แพะ&โคมีอายุมากแล้วและเคยเป็นมดลูกทะลักมาก่อน ควรพิจารณาคัดเลือกแม่แพะ&โคออกจากฝูง เพราะจะทำให้เกิดโรคซํ้าอีก เมื่อมีการคลอดลูกตัวต่อไป
.
ขอบคุณภาพจาก http://board.kobalnews.com/view.php?category=siamindu&wb_id=9838
ยาที่เกี่ยวข้องอ๊อกซี่โตซิน
ฮอร์โมนสังเคราะห์ ชนิดฉีด
ส่วนประกอบใน 1 ซีซี. ประกอบด้วย
อ๊อกซี่โตซิน สังเคราะห์ (Synthesis) 10 I.U.
สรรพคุณ
ช่วยกระตุ้นการบีบตัวของมดลูก (Uterine Contraction)
ช่วยลดอาการตกเลือดของมดลูก (Increasing the Sodium permeability)
ช่วยกระตุ้นการเข้าอู่ของมดลูก (Uterine function)
ช่วยป้องกันมดลูกอักเสบหลังคลอด (Acute postpartum Metritis)
ช่วยขับรกที่ค้างอยู่ (Postpartum retained placenta)
ช่วยกระตุ้นการไหลของน้ำนมหลังคลอด (Milk let down)
ช่วยให้มีน้ำนมจากสาเหตุ MMA (Agalatia)
เป็นฮอร์โมนสังเคราะห์ มีความบริสุทธิ์สูง
มีอายุนาน ~ 2 ปี
ข้อบ่งใช้
ขณะที่แม่แพะ&โคใกล้คลอด ควรปล่อยให้แม่แพะ&โคคลอดเอง อย่าเพิ่งฉีด OXYTOCIN กระตุ้นการคลอด ถ้ามีลูกขวางหรือช่องทางเดินแคบอาจเกิดอันตราย มดลูกฉีกขาด หรือมดลูกทะลักได้
ฉีด OXYTOCIN เพื่อช่วยเร่งการคลอดให้เร็วขึ้น (หลังจากมีลูกคลอดมาบ้างแล้ว) ขณะการคลอดทิ้งช่วงหมูสาว ~ 45 นาที, หมูนาง ~ 20 นาที โดยต้องแน่ใจว่าไม่มีลูกติดค้างที่คอมดลูก
สามารถฉีด OXYTOCIN ซ้ำได้ โดยทิ้งช่วงประมาณ 30 นาที
ในกรณีมดลูกล้า หรือมดลูกเฉื่อยในแม่หมูนาง ฉีด OXYTOCIN ร่วมกับให้น้ำเกลือแคลเซียมโบโรกลูแพะ&โคเนตเข้าเส้น จะช่วยกระตุ้นการคลอดให้เร็วขึ้น
ช่วงท้ายการคลอดสามารถให้ OXYTOCIN ช่วยเพื่อการบีบตัวของมดลูกคลอดลูกตัวท้ายๆ ช่วยขับรก และน้ำคร่ำที่ตกค้าง กระตุ้นการเข้าอู่ของมดลูก ช่วยลดปัญหามดลูกอักเสบ และกระตุ้นการไหลของน้ำนมหลังคลอด
ถ้าแม่แพะ&โคคลอดยาก ( หรือ..ถ้าเป็นหมูสาว ~ 4 ชม. หมูนาง ~ 2 ชม. หลังน้ำเดินแล้ว) โปรดปรึกษาสัตวแพทย์
วิธีการใช้
ฉีดเข้ากล้ามเนื้อ หรือใต้ผิวหนัง
แม่แพะ&โค ตัวละ 2 – 3 ml.
แพะ&โค-กระบือ ตัวละ 4 – 5 ml.
แพะ-แกะ ตัวละ 1 – 3 ml.
การเก็บรักษา
ควรเก็บในอุณหภูมิห้องไม่เกิน 25 C
ขนาดบรรจุ
ขวด 50 ซีซี.
❤รวมความคิดเห็นจาก เฟซบุ๊ค เลี้ยงแพะยั่งยืน
ขอขอบคุณ
https://www.google.com/search?q=%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81..
http://board.kobalnews.com/view.php?category=siamindu&wb_id=9838
https://web.facebook.com/jungdeejing/posts/1528035110614875?_rdc=1&_rdr
http://www.ubmthai.com/leksoundsmf3/index.php